Skip Navigation Linksหน้าแรก > ข่าวทั้งหมด > ข่าว
สมบัติดินในพื้นที่สวนชาเมี่ยงบ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
คู่มือ | 11 กุมภาพันธ์ 2565 9:57:24

สมบัติดินทางด้านเคมีในพื้นที่สวนชาเมี่ยง บ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

สมบัติดินในพื้นที่สวนชาเมี่ยง พื้นที่หย่อมป่า และพื้นที่เกษตร มีความเป็นกรดสูง ทั้งดินชั้นล่างและดินชั้นบน สมบัติดินชั้นบนมีความอุดมสมบูรณ์สูงกว่าดินชั้นล่าง ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC) เป็นความสามารถของสารในการดูดยึดและแลกเปลี่ยนประจุบวก พบว่า หย่อมป่ามีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC) มากที่สุด ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) พบฟอสฟอรัส (P) ของพื้นที่ทั้ง 3 พื้นที่มีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน ส่วนธาตุอาหารรอง ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) พบว่าพื้นที่เกษตรมีค่าสูงที่สุดและเนื้อดิน (Soil texture) แสดงองค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน ที่มีลักษณะแตกต่างกัน โดยอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดคืออนุภาคทราย (Sand) รองลงมาคืออนุภาคทรายแป้ง (Silt) และอนุภาคขนาดเล็กที่สุดคืออนุภาคดินเหนียว (Clay) พบว่าทั้ง 3 พื้นที่แสดงออกเด่นชัดในลักษณะของอนุภาคดินเหนียวมีสัดส่วนที่สูงทั้ง 3 พื้นที่ ตารางที่ 7 ภาพที่ 15

ตารางที่ 7 สมบัติดินทางด้านเคมีบ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

สมบัติดิน

ชาเมี่ยง

หย่อมป่า

เกษตร

เฉลี่ย

SD

เฉลี่ย

SD

เฉลี่ย

SD

Surface soil (0-5 ซม)

 

 

 

 

 

 

1.pH

5.24

0.05

5.24

0.10

5.35

0.30

2.Cation Exchange Capacity (CEC, meq/100g)

14.80

2.37

16.18

1.95

15.00

3.51

3.Organic Matter (%)

6.51

0.10

6.52

0.06

5.74

0.81

4.Available Phosphorus (mg/kg)

5.70

1.85

5.35

1.16

10.16

2.66

5.Exchangeable Potassium (mg/kg)

365.25

68.49

229.97

7.57

481.05

202.71

6.Exchangeable Sodium (mg/kg)

393.99

18.96

193.04

142.29

807.66

213.23

7.Exchangeable Calcium (mg/kg)

191.78

18.27

132.05

43.86

228.27

81.15

8.Exchangeable Magnesium (mg/kg)

8.07

4.24

6.03

0.63

15.29

8.13

9.Sand (%)

38.80

0.12

35.66

3.00

37.54

0.58

10.Silt (%)

11.67

0.58

10.00

2.65

11.67

4.04

11.Clay (%)

49.53

0.70

54.34

5.29

50.80

4.16

 

 

 

Subsurface soil (20-25 ซม)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.pH

5.24

0.09

5.42

0.11

5.35

0.07

2.Cation Exchange Capacity (CEC, meq/100g)

13.45

2.70

11.16

1.84

13.58

1.39

3.Organic Matter (%)

4.74

0.67

5.47

0.24

4.42

1.09

4.Available Phosphorus (mg/kg)

2.13

0.78

2.17

0.28

2.91

1.22

5.Exchangeable Potassium(mg/kg)

203.58

32.61

136.60

19.01

190.68

55.16

6.Exchangeable Sodium (mg/kg)

47.17

24.43

15.83

6.46

250.64

122.55

7.Exchangeable Calcium(mg/kg)

40.88

20.39

29.79

6.43

130.73

46.34

8.Exchangeable Magnesium (mg/kg)

10.48

6.07

7.73

2.74

8.60

4.67

9.Sand (%)

32.47

2.51

35.33

0.58

39.54

1.15

10.Silt (%)

10.67

1.53

8.67

1.53

11.00

3.46

11.Clay (%)

56.87

1.10

56.01

1.15

49.46

4.16

 

ภาพที่ 15 สมบัติดินทางด้านเคมีบ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

ความแข็งของดินในแนวตั้ง บ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

ความแข็งของดินในแนวตั้งของสวนชาเมี่ยง แปลงที่ 1 พบว่าที่ความแข็งของดินที่เป็นดินอ่อนอยู่ในระดับความลึกตั้งแต่ ระดับผิวหน้าดินถึงระดับลึก 5 เซนติเมตร และตั้งแต่ระดับลึก 6-45 เซนติเมตร ความแข็งของดินเป็นดินแข็ง ส่วนความแข็งของดินที่เป็นดินแข็งมากตั้งแต่ระดับ 46 เซนติเมตรลงไป แปลงที่ 2 พบว่าที่ความแข็งของดินที่เป็นดินอ่อนอยู่ในระดับความลึกตั้งแต่ ระดับผิวหน้าดินถึงระดับลึก 10 เซนติเมตร ตั้งแต่ระดับลึก 11-50 เซนติเมตร ความแข็งของดินเป็นดินปานกลาง และตั้งแต่ระดับลึก 51 เซนติเมตรลงไปมีลักษณะเป็นดินที่แข็งมาก และแปลงที่ 3 พบว่าที่ความแข็งของดินที่เป็นดินอ่อนอยู่ในระดับความลึกตั้งแต่ ระดับผิวหน้าดินถึงระดับลึก 7 เซนติเมตร และตั้งแต่ระดับลึก 8-45 เซนติเมตร ความแข็งของดินเป็นดินแข็ง ความแข็งของดินที่เป็นดินแข็งมากตั้งแต่ระดับ 46 เซนติเมตรลงไป

 

จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยงมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ด้านสีของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.36) โดยมีจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 รองลงมาคือ ระดับมาก จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 ระดับน้อย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14 ระดับมากที่สุดและน้อยที่สุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • -ไม่มี-

ตารางที่ 54 ผลหลังการทดลองใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ผลหลังการทดลองใช้

จำนวน

ร้อยละ

 

กลิ่นปากลดลง

25

49.02

 

เหงือกอักเสบลดลง

10

19.61

 

ไม่แตกต่างจากเดิม

16

31.37

 

รวม

51

100.00

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยงหลังจากทดลองใช้ มีกลิ่นปากลดลง จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 49.02 เหงือกอักเสบลดลง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 19.61 และมีผลไม่แตกต่างจากเดิม จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 31.37

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • รู้สึกฟันสะอาด
  • เมื่อเทียบกับการใช้อีกผลิตภัณฑ์ ลดการก่อให้เกิดหินปูนดีกว่า
  • รู้สึกฟันสะอาด  ลมหายใจสดชื่น

 

ความเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อการปรับปรุงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

  • ควรพัฒนาเรื่องของเนื้อยาสีฟัน ลดความเผ็ดลง
  • เนื้อยาสีฟันมันเหลวมาก ๆ ควรปรับปรุง
  • ควรมีส่วนผสมฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
  • ควรทำให้สีน่าใช้กว่านี้

ด้านบรรจุภัณฑ์

ตารางที่ 55 ความพึงพอใจ ด้านวัสดุ

ความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

 

พอใจ

41

97.62

 

ไม่พอใจ

1

2.38

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง พอใจในวัสดุของบรรจุภัณฑ์ จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 97.62 และไม่พอใจ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • เนื้อผลิตภัณฑ์ค่อนข้างเหลวทำให้ไม่สามารถควบคุมการไหลออกมาได้  ตรงคอของฝาน่าจะมีขนาดเล็กกว่าแบบนี้

 

ตารางที่ 56 ความพึงพอใจ ด้านข้อมูล

ความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

 

พอใจ

36

85.71

 

ไม่พอใจ

6

14.29

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง พอใจในข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 และไม่พอใจ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • ข้อมูล ตัวหนังสือ เยอะเกินไป ทำให้ดูรก ๆ
  • โลโก้ใช้พื้นที่เยอะ ทำให้ตัวหนังสืออื่น ๆ ดูไม่ชัดเจน ดูรก ๆ

 

 

ตารางที่ 57 ความพึงพอใจ ด้านดีไซน์

ความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

 

พอใจ

37

88.10

 

ไม่พอใจ

5

11.90

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง พอใจในดีไซน์ของบรรจุภัณฑ์ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 88.10 และไม่พอใจ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • ควรปรับให้ใช้ง่ายกว่านี้
  • อยากได้แบบฝาเปิดปิด จะสะดวกกว่า

 

ตารางที่ 58 ความพึงพอใจ ด้านความสะดวก

ความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

 

พอใจ

39

92.86

 

ไม่พอใจ

3

7.14

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง พอใจในความสะดวกของบรรจุภัณฑ์ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 92.86 และไม่พอใจ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14

 

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • ฝาควรเปิดง่ายกว่านี้
  • ฝาปิด ฝาเปิด น่าจะใช้สะดวกกว่านี้

 

 

 

ความเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อการปรับปรุงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

  • ควบคุมปริมาณการบีบยาสีฟันยาก บีบมากไปเผ็ด  บีบน้อยไปมีความรู้สึกแปลงไม่สะอาด เนื้อยาสีฟันเหลวไป
  • ฟองน้อยไปหน่อยค่ะ ควรทำแบบครีม เป็นน้ำยังไม่ชิน ถ้าราคาแพงอาจเลือกที่มีแบบครีมที่ราคาเท่ากัน

 

ด้านการตัดสินในซื้อ แนะนำ/บอกต่อหลังการทดลองใช้

ตารางที่ 59 การตัดสินใจหลังการทดลองใช้

การตัดสินใจหลังการทดลองใช้

จำนวน

ร้อยละ

 

ซื้อ

31

73.81

 

ไม่ซื้อ

11

26.19

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง มีการตัดสินใจซื้อหลังจากการทดลองใช้ จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 73.81 มีการตัดสินใจไม่ซื้อหลังจากการทดลองใช้ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19

 

ตารางที่ 60 การแนะนำ/บอกต่อหลังการทดลองใช้

การแนะนำ/บอกต่อหลังการทดลองใช้

จำนวน

ร้อยละ

 

แนะนำ

29

69.05

 

ไม่แน่ใจ

13

30.95

 

รวม

42

100.00

         

 

            จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ยาสีฟันสมุนไพรจากสารสกัดใบชาเมี่ยง มีการตัดสินใจแนะนำหลังจากการทดลองใช้ จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 69.05 มีการตัดสินใจไม่แนะนำหลังจากการทดลองใช้ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 30.95

 

ตอนที่ 1 การศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลลิกทั้งหมด ปริมาณสารฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดชาเมี่ยงจากบริเวณพื้นที่ภาคเหนือ

ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด

            ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดชาเมี่ยงจากบริเวณพื้นที่ภาคเหนือครอบคลุม 4  จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแพร่ จังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดน่านแสดงดังภาพที่ 4 พบว่า ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดชาเมี่ยงจากจังหวัดแพร่สูงกว่าจังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดน่าน โดยมีปริมาณของสารฟีนอลิกที่สกัดด้วยตัวทำละลายน้ำ เท่ากับ 2,492.35 2,166.42 1,965.39 และ 1,931.6 mg catechin acid equivalent/g extract ตามลำดับ และสารสกัดชาเมี่ยงมีค่าปริมาณสารฟีนอลิกที่สกัดด้วยตัวทำละลายเอทานอลเท่ากับ 2,009.26 1,917.90 1,550.00 และ 1,441.36 mg catechin equivalent/g extract ตามลำดับ Abdullah และคณะ (2013) พบว่าปริมาณกรดฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์มีความสัมพันธ์โดยตรงกับฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ การศึกษาปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดและ ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของของชาเมี่ยงพบว่า สารประกอบฟีนอลิกในของชาเมี่ยงละลายได้เอทานอล 80% และแปรผันตรงต่อฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ การต้านอนุมูลอิสระ สอดคล้องกับงานวิจัยของ Sánchez-Salcedo และคณะ (2015) ที่รายงานว่าใบหม่อนสกัดด้วยเอทานอลแสดงฤทธิ์ทางชีวภาพดีกว่า การสกัดในตัวทำละลายน้ำ และบิวทานอล นอกจากนนี้จากบริเวณพื้นที่ภาคเหนือจังหวัดต่างๆมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกแตกต่างกันเนื่องจากชาเมี่ยงผ่านกระบวนการหมักที่ต่างกัน ทำให้มีองค์ประกอบทางเคมีที่แตกต่างกันไปส่งผลให้ชาแต่ละชนิดมีสีกลิ่น และรสชาติที่แตกต่างกัน ซึ่งต่างจากชาเขียวเป็นชาที่ไม่ผ่านการหมัก องค์ประกอบทางเคมีส่วนใหญ่จะคล้ายยอดใบชาสด โดยมีสารโพลิฟีนอลในกลุ่มคาเทชินอยู่ (catechins) มากที่สุด ชาอู่หลงมการหมักบางส่วน และชาดำมีการหมักอย่างสมบูรณ์การหมักทำให้ เอนไซม์พอลิฟีนอลออกซิเดส (polyphenol oxidase) เร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาเทชิน และเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันเป็นสารในกลุ่มทีเอฟลาวิน (theaflavins, TFs) และทีอะรูบิจิน (thearubigins, TRs) (Graham, 1992)

 

 

 

 

(A)

 

 

 

(B)

 

 

 

ภาพที่ 60 ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดชาเมี่ยงที่สกัดด้วยตัวทำละลายน้ำ (A) และเอทานอล (B) จากบริเวณพื้นที่ภาคเหนือ 4 จังหวัด (ลำปาง เชียงใหม่ น่าน และ แพร่) แถบความคลาดเคลื่อนแสดงถึงค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (n=3) ค่าเฉลี่ยที่มีตัวอักษรแตกต่างกันบนกราฟแท่ง มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (P0.05)

 

ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 38 ลักษณะทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

เพศ

   

 

ชาย

18

58.06

 

หญิง

13

41.94

 

รวม

31

100.00

สถานภาพ

   

 

โสด

24

77.42

 

สมรส

5

16.13

 

หย่าร้าง/หม้าย/แยกกันอยู่

2

6.45

 

รวม

31

100.00

ระดับการศึกษา

   

 

ประถมศึกษา

0

-

 

มัธยมศึกษา

3

9.68

 

ปวช./ปวส./อนุปริญญา

3

9.68

 

ปริญญาตรี

23

74.19

 

ปริญญาโทหรือสูงกว่า

2

6.45

 

รวม

31

100.00

 

จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดใบชาเมี่ยง เป็นเพศชาย จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 58.06 และเป็นเพศหญิง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 41.94  มีสถานภาพโสด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 77.42 สมรส จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.13 และหย่าร้าง/หม้าย/แยกกันอยู่ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 74.19 มัธยมศึกษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 ปวช./ปวส./อนุปริญญา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 และปริญญาโทหรือสูงกว่า จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45

ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดจากใบชาเมี่ยง

ด้านผลิตภัณฑ์

ตารางที่ 39 ความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดจากใบชาเมี่ยง ด้านรสสัมผัสของผลิตภัณฑ์

ระดับความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

ค่าเฉลี่ย

ความหมาย

 

มากที่สุด

1

3.23

2.94

ปานกลาง

 

มาก

4

12.90

   

 

ปานกลาง

19

61.29

   

 

น้อย

6

19.35

   

 

น้อยที่สุด

1

3.23

   

 

รวม

31

100.00

   
             

จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดใบชาเมี่ยงมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ด้านรสสัมผัสของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.94) โดยมีจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 61.29 รองลงมาคือ ระดับน้อย จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 19.35 ระดับมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 12.90 ระดับมากที่สุดและน้อยที่สุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.23

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์แล้วรู้สึกสดชื่นและสะอาด แต่ระดับความเย็นมากเกินไป และมีรสเปรี้ยว ฝาดตามมา ทำให้ต้องบ้วนน้ำเปล่าอีกครั้ง ทำให้อาจจะไม่เหมาะกับผู้ที่มีแผลในช่องปาก
  • รสชาติของน้ำยามีความฝาดนิดหนึ่ง
  • ทำให้ปากชา ลิ้นชา
  • นำยามีความร้อน ซ่ามากเกินไป ทำให้ปากชา ลิ้นชา

ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 38 ลักษณะทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม

รายการ

จำนวน

ร้อยละ

เพศ

   

 

ชาย

18

58.06

 

หญิง

13

41.94

 

รวม

31

100.00

สถานภาพ

   

 

โสด

24

77.42

 

สมรส

5

16.13

 

หย่าร้าง/หม้าย/แยกกันอยู่

2

6.45

 

รวม

31

100.00

ระดับการศึกษา

   

 

ประถมศึกษา

0

-

 

มัธยมศึกษา

3

9.68

 

ปวช./ปวส./อนุปริญญา

3

9.68

 

ปริญญาตรี

23

74.19

 

ปริญญาโทหรือสูงกว่า

2

6.45

 

รวม

31

100.00

 

จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดใบชาเมี่ยง เป็นเพศชาย จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 58.06 และเป็นเพศหญิง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 41.94  มีสถานภาพโสด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 77.42 สมรส จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.13 และหย่าร้าง/หม้าย/แยกกันอยู่ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 74.19 มัธยมศึกษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 ปวช./ปวส./อนุปริญญา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 9.68 และปริญญาโทหรือสูงกว่า จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45

ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดจากใบชาเมี่ยง

ด้านผลิตภัณฑ์

ตารางที่ 39 ความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดจากใบชาเมี่ยง ด้านรสสัมผัสของผลิตภัณฑ์

ระดับความพึงพอใจ

จำนวน

ร้อยละ

ค่าเฉลี่ย

ความหมาย

 

มากที่สุด

1

3.23

2.94

ปานกลาง

 

มาก

4

12.90

   

 

ปานกลาง

19

61.29

   

 

น้อย

6

19.35

   

 

น้อยที่สุด

1

3.23

   

 

รวม

31

100.00

   
             

จากตารางพบว่า ผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปากจากสารสกัดใบชาเมี่ยงมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ด้านรสสัมผัสของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.94) โดยมีจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 61.29 รองลงมาคือ ระดับน้อย จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 19.35 ระดับมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 12.90 ระดับมากที่สุดและน้อยที่สุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.23

ความคิดเห็นเพิ่มเติม

  • เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์แล้วรู้สึกสดชื่นและสะอาด แต่ระดับความเย็นมากเกินไป และมีรสเปรี้ยว ฝาดตามมา ทำให้ต้องบ้วนน้ำเปล่าอีกครั้ง ทำให้อาจจะไม่เหมาะกับผู้ที่มีแผลในช่องปาก
  • รสชาติของน้ำยามีความฝาดนิดหนึ่ง
  • ทำให้ปากชา ลิ้นชา
  • นำยามีความร้อน ซ่ามากเกินไป ทำให้ปากชา ลิ้นชา